เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สารสนเทศ หมายถึง ข่าวสารที่สำคัญเป็นระบบข่าวสารที่กำหนด ชื่อเต็ม Information สารสนเทศ ตรงกับคำในภาษา E ว่า IT หมายถึง ความรู้ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าสารสนเทศเป็นความรู้และข่าวสารที่สำคัญที่มีลักษณะพิเศษ
เช่น มีความหมายตามที่ได้การให้คำจำกัดความที่ใกล้เคียงกันดังนี้
หมายถึงข้อมูลทั้งด้านปริมาณและด้านคุณภาพที่ประมวลจัดหมวด หมู่ เปรียบเทียบ และวิเคราะห์ แล้วสามารถนำมาใช้ได้
เทคโนโลยีสารสนเทศคืออะไร
เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือไอที(IT) เป็นเทคโนโลยีที่ความสำคัญต่อสังคมในปัจจุบันมีความเกี่ยวข้องกับการจัดเก็บ การประมวลผล และแสดงผลสารสนเทศ
องค์ประกอบหลักของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประกอบด้วยองค์ประกอบหลัก ๒ ส่วนคือ คอมพิวเตอร์ และโทรคมนาคม
๑.คอมพิวเตอร์ จัดเป็นเทคโนโลยี หลักของเทคโนโลยีสารสนเทศในยุคปัจจุบัน คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ เช่น บันทึก การจัดเก็บ การประมวลผล การแสดงผล และสืบค้นหาข้อมูลสารสนเทศสำคัญได้ ๒ ส่วน คือฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์
ฮาร์ดแวร์ หมายถึงอุปกรณ์ทุกเนิดที่ประกอบขึ้นเป็นตัวเครื่องความพิวเตอร์ ทำงานออกเป็น ๔ ส่วนคือ
๑.หน่วยรับข้อมูล
๒.หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู
๓.หน่วยแสดงผลข้อมูล ( Output Unit)
๔.หน่วยความจำสำรวง ( Secondary Storage Unit)
ซอฟต์แวร์ ( Software) หมายถึงโปรแกรมหรือชุดคำสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ผู้ใช้ต้องการ แบ่งได้ ๒ ประเภทคือ
๑.ซอฟต์แวร์ระบบ ( System Software)โปรแรกมที่มีหน้าที่ควบคุมการทำงานของฮาร์ดแวร์ทุกอย่างและอำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์
๒.ซอฟต์แวร์ประยุกต์(Application Software)โปรแกรมที่ผู้ใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้เขียนมาใช้งานเอง เพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่ต้องการ
๒.เทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคม
เทคโนโลยีโทรคมนาคม หมายถึง เทคโนโลยีที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารกันทั่วไป เช่น ระบบโทรทัศน์ ระบบดาวเทียม ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และระบบสื่อสารอื่นๆ ที่ใช้ในการสื่อสารกัน
ความสำคัญ
- แผนพัฒนาฉบับที่ 4 ( 2520-2524 ) การมีส่วนร่วมของสารสนเทศเพื่อการศึกษา มีการจัดตั้งศูนย์ประสานงาน และปฎิบัติการของสารสนเทศ
- แผนพัฒนาฉบับที่ 8 ก็ได้เห็นความสำคัญของเทคโยโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษามากขึ้น
- แผนพัฒนาฉบับที่ 9 มีการจัดทำ แผนหลักเพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการศึกษา
แผนพัฒนาข้างต้นทำให้เทคโนโลยสารสนเทศมีความสำคัญต่อการศึกษาของประเทศไทยมากขึ้น เพราะจะทำให้การศึกษาของชาติมีความทัดเทียดกัน และทั่วถึง มีคุณภาพ และมีความต่อเนื่อง ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตโดยการประยุกต์ใช้เทคโน,ยีสารสนเทศอย่างคุ้มค่า
- แผนพัฒนาฉบับที่ 8 ก็ได้เห็นความสำคัญของเทคโยโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษามากขึ้น
- แผนพัฒนาฉบับที่ 9 มีการจัดทำ แผนหลักเพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการศึกษา
แผนพัฒนาข้างต้นทำให้เทคโนโลยสารสนเทศมีความสำคัญต่อการศึกษาของประเทศไทยมากขึ้น เพราะจะทำให้การศึกษาของชาติมีความทัดเทียดกัน และทั่วถึง มีคุณภาพ และมีความต่อเนื่อง ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตโดยการประยุกต์ใช้เทคโน,ยีสารสนเทศอย่างคุ้มค่า
การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา
ยุคที่ 1 ประมวลผลข้อมูล มีวัตถุประสงค์เพื่อคำนวณ และประมวลผลข้อมูลของรายการประจำ เพื่อลดค่าใช้จ่ายด้านบุคคล
ยุคที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ มีการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการตัดสินใจ ควบคุมดำเนินการ ติดตามผล และวิเคราะห์ผลงานของผู้บริหารในระดับต่างๆ
ยุคที่ 3 การจัดการทรัพยาการสารสนเทศมีการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเรียกใช้สารสนเทศที่จะช่วยในการตัดสินใจ นำหน่วยงานไปสู่ความสำเร็จ
ยุคที่ 4 ยุคปัจจุบัน หรือยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ และระบบสื่อสารโทรคมนาคม เป็นเครื่องมือช่วยในการจัดทำระบบสารสนเทศ และเน้นความมคิดของการใช้บริการสารสนเทศแก่ผู้ใช้อย่างมีประสิทธิ์ภาพ เป็นวัตถุประสงค์สำคัญ ( เน้นการบริการ )
ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1. ให้ความรู้ ให้เกิดความรู้ความเข้าใจ
2. ใช้ในการวางแผน และการบริหารงาน
3.ใช้ประกอบการตัดสินใจ
4.ใช้ควบคุมสถานการณ์ หรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
5. เพื่อให้การบริหารงานมีระบบ
2. ใช้ในการวางแผน และการบริหารงาน
3.ใช้ประกอบการตัดสินใจ
4.ใช้ควบคุมสถานการณ์ หรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
5. เพื่อให้การบริหารงานมีระบบ
สรุป
การนำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ประโยชน์ในวงการศึกษามีปริมาณที่เพิ่มมากขึ้น เนื่องจากแพร่กระจายอย่างรวดเร็วของอุปกรณืเทคโนโลยีสารสนเทศต่างๆ เช่นดาวเทียมสื่อสาร ใยแก้วนำแสง อินเตอร์เน็ต ก่อให่เกิดระบบคอมพิวเตอร์สำหรับการบริหารงานในสถานศึกษาด้านต่างๆ เช่น ระบบบริหารการจัดการห้องสมุด และระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน เช่น ระบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา ยังช่วยให้เกิดการลดความเลื่อมล้ำของโอกาศในการศึกษา การเป็นเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพทางการศึกษา พัฒนาบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความรู้ทางด้านเทคโนโลยี
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น